Skip to main content

MOOC for Ethnic Groups MOOC ชาติพันธุ์


CCDKM

 

สื่อการเรียนรู้ออนไลน์

(Smart Functional Literacy Curriculum)

/assets/courseware/v1/c0770b553443e6853f65ba2652a21500/asset-v1:STOU_CCDKM+003+1+type@asset+block/7B7AFAC9-8723-4287-93B3-D0DBF057076D.png

คำอธิบายรายวิชา

สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Smart Functional Literacy Curriculum) ภายใต้โครงการ พัฒนาศักยภาพและการศึกษาของผู้หญิง จังหวัดน่าน จำนวนชั่วโมงการเรียนรู้ 10 ชั่วโมง เพื่อพัฒนาศักยภาพกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศโดยเพิ่มพูนทักษะด้านเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการถ่ายทอด ภาษา-วัฒนธรรมในรูปแบบการเรียนรู้ออนไลน์ (MOOC) ทั้งในฐานะผลิตและผู้ใช้ รวมทั้งพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการด้วยทักษะดิจิทัลเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจโดยใช้ภาษาแม่และภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐาน พร้อมทั้งสร้างฐานคลังข้อมูลออนไลน์เพื่อการเข้าถึงและแลกเปลี่ยนข้อมูล ภาษา-วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในประเทศไทย

เนื้อหารายวิชา

Module 1 : Gender Sensitization and Education

  • เพศและเพศสภาพ
  • การแบ่งงานกันทำระหว่างเพศ
  • เพศสภาพและโอกาสทางการศึกษา
  • ความสัมพันธ์เชิงอำนาจหญิงชาย
  • การมีส่วนร่วมของผู้หญิง

Module 2 : Self  Identity and Self Sufficiency

  • การวิเคราะห์อัตลักษณ์และความหมายปฎิทินวัฒนธรรม
  • การทำปฎิทินวัฒนธรรม
  • วิเคราะห์เพศสภาพ
  • การคิดคำนวณ

Module 3 : Mother Tongue Based Learning

  • นิยามและความสำคัญของภาษาแม่
  • การพัฒนาระบบตัวเขียน
  • การประเมินการเรียนรู้หนังสือโดยใช้ภาษาแม่ของกลุ่มชาติพันธุ์
  • การทดลองการร้อยเรียงประโยคภาษาแม่ผ่านการผลิตสื่อ Big Book

Module 4 : Smart IT

  • ความสำคัญของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
  • โลกของสื่อสังคม (Social Media) และ เครือข่ายสังคม (Social Network)
  • การใช้งานเครือข่ายสังคม (Facebook, Line, Youtube)
  • ข้อควรปฎิบัติในการรู้เท่าทันสื่อ รู้ทันตัวเอง ก่อนโพสต์ ไลค์ แชร์
คุณสมบัติผู้เรียน

 
นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย ที่สนใจสามารถเรียนได้

เกณฑ์วัดประเมิน
  1. ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน
  2. เมื่อผู้เรียนมีคะแนนรวมจากกิจกรรมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับใบประกาศนียบัตรในระบบได้
ทีมผู้รับผิดชอบรายวิชา

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สุวิไล  เปรมศรีรัตน์
ประธานที่ปรึกษาศูนย์ศึกษาและฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤต
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
มหาวิทยาลัยมหิดล  ศาลายา

ดร.มยุรี  ถาวรพัฒน์ 
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
มหาวิทยาลัยมหิดล  ศาลายา

กรรณาภรณ์  สอนสมฤทธิ์
ผู้จัดการโครงการ

Women Empowerment though Functional Literacy.

ช่องทางติดต่อทีมรายวิชา

e-Mail: ccdkm.org@gmail.com

Tel: 02-504-8756

ทีมงานดูแลหลักสูตรและระบบการเข้าเรียน
นางสาว นิลรำไพ ภัทรนนท์
นางสาว ดวงกมล อินทรทัศน์
นางสาวจุฑามาศ ยศนาวงศา
นางสาวชนนี ทัดทาน
นางสาว ธนรัตน์ จันทร์สุภาพ

Enroll